สารนี้เป็นสารที่ติดตามมะเร็งเต้านมได้ดีที่สุด โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายแล้ว เพราะมะเร็งในระยะเริ่มแรกค่าสารนี้จะไม่สูง ถ้าจะให้ได้ค่าที่ถูกต้องและแม่นยำมากขึ้นควรตรวจ Mammogram ร่วมด้วย
สารบ่งชี้มะเร็งมะเร็งทางเดินอาหารและตับ (Carbohydrate Antigen 19-9 Digestive Tract)
สารตัวนี้จะสูงในมะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งตับอ่อน มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งถุงน้ำดี หรือค่าสูงจากภาวะโรคอย่างอื่น เช่น ตับอ่อนอักเสบ ตับแข็ง นิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีอักเสบ
พบได้สูงในมะเร็งรังไข่ มะเร็งปากมดลูก ตับอ่อน ลำไส้ใหญ่ เต้านมและปอด นอกจากนี้ยังสามารถพบได้ในโรคที่ไม่ใช่มะเร็ง เช่น เยื่อบุช่องทางอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ โรคตับ และเยื้อหุ้มปอดอักเสบ
หากตรวจพบสารนี้มีค่าสูง แสดงว่าอาจมีโอกาสเป็นมะเร็งตับ มะเร็งลูกอัณฑะ หรือมะเร็งรังไข่ หรืออาจตรวจเจอในภาวะอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มะเร็ง เช่น ตับแข็ง หรือตับอักเสบ
สารตัวนี้จะพบสูงในมะเร็งลำไส้ โดยเฉพาะในภาวะที่มะเร็งได้แพร่กระจายไปแล้ว หรืออาจมีค่าสูงในภาวะที่ไม่ใช่มะเร็ง เช่น ลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ หรือการสูบบุหรี่ เป็นต้น
สามารถพบว่ามีค่าสูงกว่าปกติในมะเร็งที่มีกำเนิดมาจากเซลล์ในกลุ่มระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (Neuro Endocrine) เช่น มะเร็งปอด มะเร็งของระบบประสาท (ท้าวแสนปม)
COLOTECH (ชุดตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง) แม้คุณเริ่มเป็น มะเร็งลำไส้
ระยะเริ่มต้นสามารถตรวจพบได้ถึง 89.47%
ความไวในการตรวจเจอโรคมะเร็งลำไส้ระยะแรก 89% ซึ่งมีความไว
ในการตรวจพบโรคมะเร็งลำไส้ ระยะแรกสูงกว่าวิธีการตรวจเลือด(CEA)
ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง สามารถตรวจพบ DNA ที่ผิดปกติได้ แม้จะยังไม่มีรอยโรค
(Colorectal cancer, CRC) ชนิดไม่รุกล้ำ จากสิ่งส่งตรวจอุจจาระโดยตรวจหาระดับความผิดปกติของ DNA ในยีนที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งลำไส้ใหญ่
ความไวต่อการตรวจจับมะเร็งลำไส้ใหญ่ถึง 89.47%
ความจำเพาะต่อมะเร็งลำไส้ถึง 93.55%
ความไวต่อเนื้องอกที่จะพัฒนาไปเป็นมะเร็ง (Advanced adenoma) 42% ซึ่งการตรวจคัดกรองนี้ถือเป็นหนึ่งในวิธีการประเมินสัญญาณของมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะเริ่มต้น
ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก?มะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นมักจะไม่แสดงสัญญาณหรืออาการที่ชัดเจน ซึ่งอาการในระยะแรก ๆ ที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดท้อง พฤติกรรมการขับถ่ายเปลี่ยนไป ลักษณะอุจจาระเปลี่ยนไป และน้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งยากที่ผู้ป่วยจะสังเกตความผิดปกติเหล่านี้ จึงเข้ารับการตรวจวินิจฉัยล่าช้า
ทำไมเราต้องตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง?
เพราะอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงจะสูงถึง 90% หากตรวจพบเร็วและได้รับการรักษาที่เหมาะสมตั้งแต่ระยะแรก แต่เมื่ออยู่ในระยะที่แพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น อัตราการรอดชีวิตจะเหลือเพียง 10% ดังนั้นการตรวจคัดกรองจึงสำคัญมาก เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
* โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง
เป็นมะเร็งที่พบในเพศชายมากเป็นอันดับ 1 คิดเป็น 20.7%
* พบในเพศหญิงมากเป็นอันดับ 2 คิดเป็น 12.2% (ที่มา : หนังสือทะเบียนมะเร็ง พ.ศ.2563, สถาบันมะเร็งแห่งชาติ)
* อายุ >50 ปี (+11%) ทุกคนมีความเสี่ยง
* อายุ > 50 ปี + ประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ (+20%)
ราคาแพคเกจ
4,800 บาท
5,800 บาท มีประกันส่งส่องกล้อง มูลค่า 9,000 บาท
6,800 บาท มีประกันส่งส่องกล้อง มูลค่า 18,000 บาท
การตรวจหามะเร็งในระยะเริ่มต้น (Multi-Cancer Early Detection) เป็นการตรวจหาสารมะเร็งพันธุกรรมของเซลล์มะเร็งที่ถูกปลดปล่อยออกมาในกระแสเลือดด้วยเทคโนโลยีล่าสุด Next-Generation Sequencing ได้แก่
มะเร็งตับ
มะเร็งปอด
มะเร็งเต้านม
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
ประกอบด้วย 3 หมวด ได้แก่
หมวดที่ 1 หมวดอาหารการกิน (Diet)
- ความอยากอาหาร
- การตอบสนองต่อคาร์โบไฮเดรต
- การตอบสนองต่อไขมันไม่อิ่มตัว
- การรับรสอาหารที่มีรสชาติมัน
- การรับรสเค็ม
- การรับรสหวาน
หมวดที่ 2 หมวด ปฏิกิริยาตอบสนองไใ่พึงประสงค์ ( Food Intolerance and sensitivity)
- การตอบสนองต่อโซเดียมและความดันโลหิต
- การตอบสนองต่อแอลกอฮอล์
- การตอบสนองต่อคาเฟอีน
หมวดที่ 3 หมวด วิตามินและอาหารเสริม ( Vitamins and Supplement)
ตรวจพันธุกรรม Gene ที่เกี่ยวกับ
ระดับแรงจูงใจในการออกกำลังกาย
ความไวต่อความเจ็บปวด
น้ำหนักตัวและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
การเต้นของหัวใจและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
ความดันโลหิตอละการตอบสนองการออกกำลังกาย
ปริมาณไขมันและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
สายพลังกล้ามเนื้อ หรือสายอึดทนทาน
ระดับความอึด (VO2max)
ระดับกำลังกล้ามเนื้อ
โอกาสบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย
โอกาสการเกิดเอ็นร้อยหวายอักเสบ
โอกาสที่สมองจะเกิดกระทบกระเทือน
ประกอบด้วย 3 หมวด ได้แก่
หมวดที่ 1 หมวดอาหารการกิน (Diet)
- ความอยากอาหาร
- การตอบสนองต่อคาร์โบไฮเดรต
- การตอบสนองต่อไขมันไม่อิ่มตัว
- การรับรสอาหารที่มีรสชาติมัน
- การรับรสเค็ม
- การรับรสหวาน
หมวดที่ 2 หมวด ปฏิกิริยาตอบสนองไใ่พึงประสงค์ ( Food Intolerance and sensitivity)
- การตอบสนองต่อโซเดียมและความดันโลหิต
- การตอบสนองต่อแอลกอฮอล์
- การตอบสนองต่อคาเฟอีน
หมวดที่ 3 หมวด วิตามินและอาหารเสริม ( Vitamins and Supplement)
ตรวจพันธุกรรม Gene ที่เกี่ยวกับ
ระดับแรงจูงใจในการออกกำลังกาย
ความไวต่อความเจ็บปวด
น้ำหนักตัวและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
การเต้นของหัวใจและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
ความดันโลหิตอละการตอบสนองการออกกำลังกาย
ปริมาณไขมันและการตอบสนองต่อการออกกำลังกาย
สายพลังกล้ามเนื้อ หรือสายอึดทนทาน
ระดับความอึด (VO2max)
ระดับกำลังกล้ามเนื้อ
โอกาสบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย
โอกาสการเกิดเอ็นร้อยหวายอักเสบ
โอกาสที่สมองจะเกิดกระทบกระเทือน
พันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับ 9 มะเร็งในเพศหญิง ได้แก่
มะเร็งปอด
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งตับ
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งปากมดลูก
พันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับ 7 มะเร็งในเพศชาย ได้แก่
มะเร็งปอด
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งตับ
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งต่อมไทรอยด์
มะเร็งตับอ่อน
ผลการทดสอบจะแสดงตามปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม การเกิดโรคจริงอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น วิถีชีวิตส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งสำคัญคือคุณต้องดำเนินกลยุทธ์การป้องกันที่ครอบคลุม ซึ่งรวมถึงการตรวจสุขภาพเป็นประจำ รูปแบบการบริโภคอาหาร และวิถีชีวิต ผ่านการให้คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพ
พันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งที่ใช้ในการทดสอบนี้ได้รับการพิสูจน์แล้วจากการวิจัยระดับนานาชาติและการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ชั้นนำ ข้อมูลพันธุกรรมจะได้รับการอัปเดตอย่างต่อเนื่อง
* การทดสอบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาความเสี่ยงต่อโรค ไม่ใช่เพื่อวินิจฉัยโรค การทดสอบนี้ดำเนินการตามใบยินยอมการทดสอบทางพันธุกรรม และปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล